คัดลอก URL แล้ว
เวียนหัว บ้านหมุน เป็นๆ หายๆ คุณอาจจะเป็น โรคตะกอนหินปูนในหูชั้นในหลุด

เวียนหัว บ้านหมุน เป็นๆ หายๆ คุณอาจจะเป็น โรคตะกอนหินปูนในหูชั้นในหลุด

โรคตะกอนหินปูนในหูชั้นในหลุด (Benign paroxysmal positional vertigo: BPPV) เป็นโรคที่พบบ่อยที่สุด ที่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการเวียนศีรษะบ้านหมุนเป็น ๆ หาย ๆ โดยมีความผิดปกติอยู่ที่หูชั้นใน มักสัมพันธ์กับการเปลี่ยนท่าทางของศีรษะ

ข้อมูลจาก นพ.สุเมธ เฟื่องกำลูน แพทย์เฉพาะทางด้านโสต ศอ นาสิกวิทยา ศูนย์ หู คอ จมูก ( Ear Nose & Throat Center) โรงพยาบาลนวเวช อธิบายถึงสาเหตุ อาการ การรักษา รวมถึงคำแนะนำในการปฎิบัติตัวเพื่อลดโอกาสการกลับเป็นซ้ำของโรค สามารถนำไปใช้สังเกตตนเองและคนรอบข้าง เพื่อเข้าสู่กระบวนการรักษาได้อย่างเหมาะสม

โอกาสในการเกิดโรคตะกอนหินปูนในหูชั้นในหลุด

อาการของโรค

กลไกการเกิดโรค

โดยปกติแล้วภายในหูชั้นในของมนุษย์ มีอวัยวะควบคุมการทรงตัว (Utricle, Saccule, Semicircular canal) ซึ่งใน Utricle มีตะกอนหินปูน (Otoconia) ที่เคลื่อนไปมาโดยไม่หลุด เพื่อรับรู้การเคลื่อนไหวของศีรษะ หากมีสาเหตุที่ทำให้ตะกอนหินปูนหลุด จะทำให้ตะกอนหินปูนดังกล่าวเคลื่อนที่ไปมาใน Semicircular canal และส่งสัญญาณไปยังระบบประสาทส่วนกลาง กระตุ้นให้เกิดอาการเวียนศีรษะบ้านหมุนได้

The sick woman had a headache and the hands touched her head on the bed.

สาเหตุของการเกิดโรค

การรักษาโรคตะกอนหินปูนในหูชั้นในหลุด

โรคตะกอนหินปูนในหูชั้นในหลุดสามารถวินิจฉัยได้จากประวัติและตรวจร่างกายที่จำเพาะ การตรวจร่างกายเพื่อการวินิจฉัยโรคอาจกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีบ้านหมุนขณะตรวจได้

คำแนะนำในการปฏิบัติตัว เพื่อช่วยลดโอกาสการกลับเป็นซ้ำของโรค


เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง