คัดลอก URL แล้ว
โรคซึมเศร้ารักษาที่ไหน? รวมรายชื่อโรงพยาบาลรัฐบาล-เอกชน ทั่วประเทศ

โรคซึมเศร้ารักษาที่ไหน? รวมรายชื่อโรงพยาบาลรัฐบาล-เอกชน ทั่วประเทศ

โรคซึมเศร้า ภาวะผิดปกติทางอารมณ์ ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วย เศร้า สิ้นหวัง การรักษาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจะสามารถวินิจฉัยภาวะซึมเศร้าได้อย่างถูกต้อง หลายคนไม่แน่ใจว่าตนเองเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่? การพบแพทย์เป็นวินิจฉัยเบื้องต้นว่าคุณมีภาวะซึมเศร้าหรือไม่ อยู่ในระดับไหน

เนื่องจากภาวะซึมเศร้าเกิดจากสาเหตุต่างๆ ได้มากมาย เช่น ย้ายบ้าน ตกงาน เกษียน หรืออาจจะเป็นโรคอื่นที่มีอาการคล้ายคลึงกับโรคซึมเศร้า เช่น โรคอารมณ์สองขั้ว หรือ โรควิตกกังวล การพบแพทย์ก็เพื่อยืนยันการวินิจฉัยผลที่แน่นอน

ค่ารักษาพยาบาลสำหรับโรงพยาบาลรัฐบาลจะไม่เสียค่าใช้จ่ายใดใด สามารถรักษาโดยใช้สิทธิบัตรทอง ประกันสังคม สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สิทธิสวัสดิการการรักษาพยาบาลข้าราชการ ที่สำคัญควรเลือกโรงพยาบาลที่ใกล้บ้านเพื่อสะดวกในการเดินทางเพราะควรได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

โรงพยาบาลรัฐบาลในกรุงเทพฯ และปริมณฑล

โรงพยาบาลเอกชนในกรุงเทพฯ และปริมณฑล

ภาคเหนือ

โรงพยาบาลจอมทอง จ.เชียงใหม่
โรงพยาบาลเชียงใหม่-ราม (เอกชน)
โรงพยาบาลนครพิงค์ จ.เชียงใหม่
โรงพยาบาลธัญญารักษ์ เชียงใหม่
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ (โรงพยาบาลสวนดอก)
โรงพยาบาลสวนปรุง (จ.เชียงใหม่)
โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ศรีบุรินทร์ (เอกชน) จ.เชียงราย
โรงพยาบาลน่าน
โรงพยาบาลแพร่
โรงพยาบาลลำปาง
โรงพยาบาลลำพูน
โรงพยาบาลธัญญารักษ์ แม่ฮ่องสอน
โรงพยาบาลสุโขทัย
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ (จ.เชียงใหม่)

ภาคตะวันตก

โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา (จ.กาญจนบุรี)
โรงพยาบาลแม่สอด (จ.ตาก)
โรงพยาบาลราชบุรี
โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (จ.ตาก)
โรงพยาบาลพระจอมเกล้า จ.เพชรบุรี
โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จ.สุพรรณบุรี
โรงพยาบาลหัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์
โรงพยาบาลบ้านโป่ง จ.ราชบุรี
โรงพยาบาลนภาลัย (เดิมชื่อ รพ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม)

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
โรงพยาบาลครบุรี (จ.นครราชสีมา)
โรงพยาบาลค่ายสุรนารี (จ.นครราชสีมา)
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น
โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราชนครินทร์
โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์
โรงพยาบาลชัยภูมิ
โรงพยาบาลเทพรัตน์ (จ.นครราชสีมา)
โรงพยาบาลบุรีรัมย์
โรงพยาบาลปากช่อง (จ.นครราชสีมา)
โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ (จ.อุบลราชธานี)
โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
โรงพยาบาลมหาสารคาม
โรงพยาบาลยโสธร
โรงพยาบาลร้อยเอ็ด
โรงพยาบาลศรีสะเกษ
โรงพยาบาลสกลนคร
โรงพยาบาลสุรินทร์

ภาคกลาง

โรงพยาบาลโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
โรงพยาบาลกำแพงเพชร
โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราชนครินทร์
โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช (จ.สุพรรณบุรี)
โรงพยาบาลนครนายก
โรงพยาบาลนครสวรรค์
โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช
โรงพยาบาลพระพุทธบาท (จ.สระบุรี)
โรงพยาบาลพิจิตร
โรงพยาบาลพุทธชินราช (จ.พิษณุโลก)
โรงพยาบาลสระบุรี
โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ (จ.นครสวรรค์)
โรงพยาบาลสิงห์บุรี
โรงพยาบาลอานันทมหิดล (จ.ลพบุรี)
โรงพยาบาลอ่างทอง
ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จ.นครนายก)

ภาคตะวันออก

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
โรงพยาบาลกรุงเทพ พัทยา
โรงพยาบาลกรุงเทพ ระยอง
โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์
โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ (จ.ปราจีนบุรี)
โรงพยาบาลชลบุรี
โรงพยาบาลบางละมุง จ.ชลบุรี
โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา
โรงพยาบาลพระปกเกล้า (จ.จันทบุรี)
โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา
โรงพยาบาลระยอง
โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา (จ.ชลบุรี)
โรงพยาบาลสมิติเวช ชลบุรี
โรงพยาบาลอาภากรเกียรติวงศ์ (จ.ชลบุรี)

ภาคใต้

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โรงพยาบาลกรุงเทพ สมุย
โรงพยาบาลกรุงเทพ หาดใหญ่
โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์
โรงพยาบาลตะกั่วป่า (จ.พังงา)
โรงพยาบาลท่าศาลา (จ.นครศรีธรรมราช)
โรงพยาบาลทุ่งสง (จ.นครศรีธรรมราช)
โรงพยาบาลธัญญารักษ์ สงขลา (เกาะยอ)
โรงพยาบาลธัญญารักษ์ ปัตตานี
โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์
โรงพยาบาลปัตตานี
โรงพยาบาลพัทลุง
โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช
โรงพยาบาลยะลา
โรงพยาบาลราษฏร์ยินดี (จ.สงขลา)
โรงพยาบาลวชิระ ภูเก็ต
โรงพยาบาลศูนย์ตรัง
โรงพยาบาลสงขลา
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ (จ.สุราษฎร์ธานี)
โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
โรงพยาบาลระนอง
โรงพยาบาลป่าตอง (จ.ภูเก็ต)
โรงพยาบาลพังงา
โรงพยาบาลสิชล (จ.นครศรีธรรมราช)
โรงพยาบาลสุไหงโกลก

ทั้งนี้สิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสามารถตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาลของตนเองได้ที่ สายด่วน สปสช. 1330

สำหรับผู้ประกันที่ต้องการใช้สิทธิประกันสังคม สามารถตรวจสอบสิทธิที่สายด่วนประกันสังคม 1506


เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง